สังกัด สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอท่าตะเกียบ
ชื่อเรื่อง การแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ
ตามที่กระทรวงมหาดไทย กำหนดให้การดำเนินนโยบายแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ
โครงการลดความเลื่อมล้ำด้านรายได้ด้วยการขจัดความยากจนในชนบท
เป็นงานสำคัญของกระทรวงมหาดไทย ในการตอบสนองต่ออุดมการณ์ “บำบัดทุกข์ บำรุงสุข” เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานตามนโยบายดังกล่าว
กรมการพัฒนาชุมชน จึงจัดทำโครงการการบริหารจัดการครัวเรือนยากจนแบบบูรณาการ :
ชี้เป้าชีวิต จัดทำเข็มทิศชีวิต บริหารจัดการชีวิต และดูแลชีวิต
โดยการบูรณาการความร่วมมือจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน ภาคประชาชน
ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตครัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ำกว่าเกณพ์ ความจำเป็นพื้นฐาน
(จปฐ.) ปี 2557 (30,000 บาท/คน/ปี)
ให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัวทั้งด้านการพัฒนาทักษะอาชีพตามศักยภาพ
และการได้รับการสงเคราะห์ดูแลจากหน่วยงานและชุมชน
การแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการของจังหวัดฉะเชิงเทรา
การดำเนินงานแก้ไขปัญหาความยากจน
ปี 2558 จังหวัดฉะเชิงเทรา
โดยพัฒนาการจังหวัดฉะเชิงเทรา
ได้มอบนโยบายนโยบายการแก้ไขปัญหาความยากจน
ด้วยการน้อมนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่
ด้วยการมอบนโยบายให้พัฒนากร ดำเนินการในพื้นที่
- ส่งเสริมให้ผู้นำชุมชนเข้มแข็ง
และมีความเสียสละ
- ส่งเสริมกองทุนให้เข้มแข็ง
สามารถสนับสนุนกิจกรรมของชุมชนได้
- ส่งเสริมให้กองทุน/ชุมชน
มีสวัสดิการที่สามารถช่วยเหลือคนยากจนและคนด้อยโอกาส
-
ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเนื่อง
การดำเนินงานตามโครงการนี้
เน้นให้ผู้นำชุมชน และครัวเรือนยากจนมีจิตสำนักและความเชื่อมันในการพัฒนาแบบพึ่งตนเอง
เน้นความเชื่อมั่นในหลักคุณธรรม การเสริมสร้างครอบครัวให้อบอุ่น
มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน การรวมกลุ่มประกอบอาชีพ
การเรียนรู้และการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของชุมชน การบูรณาการการทำงานในพื้นที่
กลยุทธ์ในการดำเนินงานให้ประสบผลสำเร็จ
-
การบูรณาการการทำงานในพื้นที่กับหน่วยงานของรัฐและเอกชน โดยการสร้างทีมงานระดับตำบล ประกอบด้วย
ผู้นำ อช. ประธาน กพสม. ปลัดอำเภอ
เจ้าหน้าที่ อบต. เจ้าหน้าที่ กศน. เจ้าหน้าที่เกษตรและเจ้าหน้าที่สาธรณสุข โดยมี พัฒนากร เป็นเลขานุการ
ปัจจัยที่ส่งผลให้ประสบผลสำเร็จในการแก้ไขปัญหาความยากจนของอำเภอท่าตะเกียบ มีดังนี้
1.
แต่งตั้งคณะกรรมการศูนย์อำนวยการขจัดความยากจนและพัฒนาชนบท
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
(ศจพ.อำเภอ/ศจพ.ตำบล/ศจพ.หมู่บ้าน) ซึ่งได้บูรณาการทำงานกับหน่วยงาน
2. สร้างชุดทีมปฏิบัติการ
(ทีเคาะประตู) โดยเน้นผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน
และองค์กรสตรีให้มีบาทบาทในการแก้ไขปัญหาความยากจนของชุมชน
3.
วิเคราะห์ปัญหาครัวเรือนที่ตกเกณฑ์มาจากสาเหตุอะไรตามหลัก 4 ท (ทัศนะ ทักษะ
ทรัพยากร ทางออก)
3. จัดทำทะเบียนครัวเรือนยากจน
ยากตามกลุ่มปัญหา ครัวเรือนที่สงเคราะห์
และครัวเรือนที่พัฒนาและส่งเสริมอาชีพ
4. จัดทำ
3.
วิเคราะห์ปัญหาครัวเรือนที่ตกเกณฑ์มาจากสาเหตุอะไรตามหลัก 4 ท (ทัศนะ ทักษะ
ทรัพยากร ทางออก)
3. จัดทำทะเบียนครัวเรือนยากจน
ยากตามกลุ่มปัญหา ครัวเรือนที่สงเคราะห์
และครัวเรือนที่พัฒนาและส่งเสริมอาชีพ
4. จัดทำ Family Folders เพื่อเป็นฐานข้อมูลครัวเรือนยากจนให้กับคณะทำงานระดับจังหวัด/อำเภอ/ตำบล/หมู่บ้าน
5.
ประชุมคณะทำงานทุกระดับวางแผนการจัดหางบประมาณ เพื่อช่วยเหลือครัวเรือนยากจน
ด้วยการประสานภาคีการพัฒนางบประมาณในการสนับสนุนปฏิบัติการตำบลร่วมกับครัวเรือนยากจนจัดทำเข็มทิศชีวิต
6. จัดเวทีสรุปบทเรียนเพื่อทราบปัญหาและปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จในการแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจน เพื่อเสนอครอบครัวยากจนในปีต่อไป
5.
ประชุมคณะทำงานทุกระดับวางแผนการจัดหางบประมาณ เพื่อช่วยเหลือครัวเรือนยากจน
ด้วยการประสานภาคีการพัฒนางบประมาณในการสนับสนุนปฏิบัติการตำบลร่วมกับครัวเรือนยากจนจัดทำเข็มทิศชีวิต
6. จัดเวทีสรุปบทเรียนเพื่อทราบปัญหาและปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จในการแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจน เพื่อเสนอครอบครัวยากจนในปีต่อไป
การแก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ
คือ การทำงานแบบมีส่วนร่วมกับหน่วยงานภาคีการพัฒนาทั้งในส่วนราชการ ครัวเรือนยากจน
ผู้นำชุมชน
และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นทุกภาคส่วนจะต้องให้ความร่วมมือในการทำงานตามแผนการปฏิบัติการแก้จนอย่างเป็นรูปธรรมและชัดเจน
ซึ่งจะครอบคลุมถึงการเกื้อกันภายในชุมชน เช่น การมีสวัสดิการชุมชน
และการมีส่วนร่วมในการเอาใจใส่ให้การสนับสนุนงบประมาณ
การให้โอกาสในการส่งเสริมอาชี ส่งเสริมการเรียนรู้ และการให้โอกาสในการส่งเสริมอาชีพ
ส่งเสริมการเรียนรู้ และการให้คำปรึกษาแนะนำอย่างถูกต้องในการดำเนินชีวิต
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น